ซึ่งในปัจจุบัน Google เองเริ่มให้ผลลัพธ์การค้นหารองรับในส่วนของ Social Media ให้ปรากฏบน Organic Search มากขึ้น จะเห็นได้ว่าก่อนหน้านี้จะเน้นเรื่องของ Google + Button ที่ปรากฏ แต่ในตอนนี้ Content อย่าง Timeline บน Twitter หรือ Wall Post จาก Facebook Fan Page นั้นมีปรากฏบนหน้าผลลัพธ์มากขึ้น
การที่มีผลลัพธ์ที่แสดงผล Social Media ปรากฏขึ้นนั้น เป็นผลดีต่อผู้ประกอบการขนาดเล็กระดับเริ่มต้นหลายคน ที่ยังไม่พร้อมที่จะมีเว็บไซต์ แต่จะมีพื้นที่เล็กๆ อย่าง Facebook เป็นร้านค้า มีโอกาสที่จะใช้ Fan Page ของตัวเองเป็นเหมือนเว็บไซต์มาปรับแต่ง SEO ได้ทั้งบน Google และ Graph Search ได้เลย
เนื่องจาก Facebook ในตอนนี้มีมากกว่า 800 ล้านกว่าคนที่ Active จริงๆ และมี Log การใช้งานมากกว่า 50 % ของผู้ใช้ โดยเฉลี่ยจาก Komii และ Facebook ในประเทศไทยนั้น ใน 1 วันมีการโพสบน Wall ของผู้ใช้ 176 ล้านครั้งต่อวัน มีการ comment การแสดงความเห็นบนหน้า page และหน้า Profile เกิดขึ้น 1.3 ล้านครั้ง และมีการอัพโหลดวิดีโอมากถึง 1 ล้านครั้ง ทั้งหมดนี้คือสิ่งที่เกิดขึ้นในแต่ล่ะวันของประเทศไทย ผู้บริโภคส่วนใหญ่จะอยู่บน Social Network หรือ Social Media นี้คือสิ่งที่ทาง Google รับรู้สำหรับแบนด์สินค้าบางตัวนั้น หน้า Official Website หรือ Business Website กลับนิ่งมากกว่า Fan page ที่ทำขึ้นมาเพราะผู้บริโภคหากชอบใจในตัวบริการ หรือตัวสินค้าจริงๆแล้ว มักจะเข้าไปพูดคุยเกี่ยวกับแบนด์ในหน้า Facebook Fan Page เพราะมันสามารถเข้าถึงตัวได้ไว โต้ตอบแบบ 2 Ways Communication ได้รวดเร็วมากกว่าการเข้าไปใช้ Live Chat หรือ Contact Us จากหน้าเว็บไซด์
Google เริ่มมองเห็นความสัมพันธ์ของแบนด์ และผู้บริโภคของแบนด์ หลายๆแบนด์ทำ Social Engagement บนหน้า Fan page facebook มากขึ้น ทำให้ Google ต้องเจาะจงให้ Index หน้า Fan page หรือเนื้อหาหน้า Wall ของ Fan page นั้นมาปรากฏบนหน้าการค้นหาของ Google นี่เป็นสิ่งหนึ่งที่ทาง Google ยอมทำให้ Facebook เพราะ Google ถือว่า Content อย่าง Text,Video,News ที่ประกอบด้วย Keywords สำคัญทั้งหลายบน Facebook นั้นคือ Digital Asset เชิงสาธารณะ หรือ Publicly Assets ทำให้ Google สามารถเข้าไปเก็บข้อมูล Content ของ Fan page เหล่านี้ได้อยู่แล้วโดยไม่ต้องกด Like ที่ Fan Page และสามารถมองหาได้บนผลลัพธ์ Google ได้อีกด้วย
แน่นอนทาง Google ให้คะแนนและเก็บ Index ของหน้า Fan page บน Facebook โอกาสที่เราจะทำ Search Engine Optimized หรือ SEO กับหน้าแบนด์ของ Facebook ได้ ซึ่งถ้าทดสอบดูแล้วส่วนที่ Google จะทำการเข้าไปเก็บ Index ผ่านการ Crawling บน Fan page นั้น จะมีสิ่งต่อไปนี้
Index หน้าของ Facebook Comment
Index ส่วนของ Wall Post บน Fan Page ด้วย Keywords ประเภท Phase หรือแบบประโยค
แค่สองส่วนนี้เราก็สามารถที่จะทำให้ประโยค Copy ของโปรโมชั่นสินค้าและบริการขอบคุณให้ไปปรากฏบน
หน้าผลลัพธ์การค้นหาบน Google ได้ เพราะถ้าเปรียบเทียบในเรื่องของการรับรูปแบนด์แล้ว Google จะให้ข้อมูลของแบนด์เชิง Active ที่ต่างกับ Facebook ที่ให้ข้อมูลค่าของแบนด์เชิง Passive
ความหมายเชิง Active และ Passive ในการรับรู้แบนด์
การที่ผู้บริโภคมีโอกาสจะได้รับรู้แบนด์นั้น มี 2 รูปแบบกรณีคือ Active และ Passive ใน Social Media อย่าง Facebook นั้นถือว่าเป็นการโปรโมทแบนด์ให้ผู้บริโภคได้รับรูปแบบ Passive ตัวอย่างเช่น โฆษณาที่อยู่ด้านขวามือของหน้าจอ Facebook มักจะปรากฏธุรกิจขึ้นมาโดยอ้างอิงจากความชอบ Interest ซึ่งมาจาก Wall Post บนหน้า Profile ของเราที่ชอบพูดคุยเรื่องอะไร หน้า Page รูปภาพ หรือ Content Marketing ที่พวกเรากด Like ทุกสิ่งจะถูกเก็บไว้เป็นข้อมูลความชอบ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลให้กับนักการตลาด สามารถทำการ Target โฆษณาบน Facebook ให้ปรากฏตรงตามกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งการปรากฏคือการนำเรื่องราวหรือสินค้าบริการที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจที่ Like ไว้
ข้อความในโฆษณาหรือรูปภาพจะเข้ามาช่วยกระตุ้นให้เกิดความสนใจในโฆษณา และพร้อมที่จะ Convent ผู้บริโภคที่เข้ามาชมกลายเป็นลูกค้าในที่สุด ซึ่งแตกต่างจาก Google ที่เป็นการโปรโมต Copy หรือ โฆษณาและให้ข้อมูลแบบ Active ที่ข้อมูล หรือโปรโมชั่นทั้งหลายนั้น พร้อมจะเสริฟถึงมือให้ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค
สรุปคือ Facebook เป็นเหมือนช่องทางให้ผู้บริโภครับรู้แบนด์ที่เข้ามากระตุ้นด้วยความสนใจและความชอบส่วน Google นั้นคือช่องทางที่ผู้บริโภคแบนด์ได้ เพราะต้องการค้นหาในเวลานั้น และต้องการเดี๋ยวนั้น ดังนั้นเราสามารถใช้ข้อดีในการสร้าง Viral หรือกระแสบอกต่อเนื้อหาโปรโมชั่น หรือ Copy บน Content Marketing จากหน้า Fan page ของเราที่เป็น Passive ให้กลายเป็น Active ได้ ก็ต้องใช้ช่องทางที่ Google มาช่วยเก็บ Inbox
แนวทางปรับแต่ง SEO ในกับ Facebook Fan Page
การบอกให้ผู้บริโภครู้จักแบนด์ของเรา หรือการทำ Brand Management แน่นอนเป้าหมายขั้นต่ำตอนแรกคือ การได้มาซึ่งจำนวน 25 Likes เพื่อจะได้มีโอกาสแก้ URL ของหน้า Fan Page ให้สั้นลง และจดจำง่าย เมื่อได้แฟนเพจ 25 คนแรก แล้วสิ่งที่ควรทำต่อไปคือ Profile Picture การสร้าง Profile Picture แน่นอนว่าคุณต้องห้ามลืม Logo ของคุณใน Profile Picture ของหน้า Fan Page ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับ Cover Photo อีกที เพราะ Cover Photo คือช่องทางหนึ่งที่คุณสามารถเล่นกับโปรโมชั่น หรือ Brand Visibility ได้อย่างดีที่สุด
ต่อมาคือการเพิ่ม About และการตั้งค่าMilestones แน่นนอนว่า About ของหน้า Fan page อาจจะต้องใช้ Copy Writer มือดีมาช่วยคิด ข้อความไม่ควนเกิน 165 อักษร ให้คนเข้ามาเจอในหน้า Fan page จะปรากฏผลลัพธ์การค้นหาของ Google ให้น่าสนใจ
ส่วนของ Milestones คือสิ่งที่ต้องพูดกับทีมการตลาด เช่นการวางแพลน สำหรับสินค้า หรือ บริการ สิ่งเหล่านี้คือการวางแผนล่วงหน้า ที่จะทำให้ Content Marketing น่าสนใจ และยังทำให้ Wall post มีโอกาสติด Google ด้วยใน Keywords ที่เกี่ยวข้องกับ Milestones อีกด้วย
การทำ Brand Visibility และสร้าง Impact ให้กับ Fan page บน Google
สำหรับการสร้าง Visibilit นั้น ส่วนใหญ่จะสร้างขึ้นมาโดยไม่รู้ตัว เช่น การใช้ Social Integration Plug-in บน Blong พวกไอคอนของ Social Media ทั้งหลาย ก็หนีไม่พ้น Facebooke ไม่ก็พวก Like box ที่เราสร้างได้เอง แต่สำหรังหลายคนที่ไม่อยากรู้ว่าทำอะไรได้มากกว่านี้ไหม ให้ลองลองเพิ่มการปรับแต่งเนื้อหา Page เข้าไปในรูปแบบของ Content แล้วใช้ Link เข้าช่วย จะเป็นการเพิ่ม Inbound link เพิ่มคะแนนการค้นหาใน Google ให้ติดอันดับมากขึ้น โดยใช้ Keywords Rich มาช่วยให้หลายคนค้นหาในสิ่งที่ต้องการได้ง่าย และกว้างขึ้น
การสร้าง Impact แก่ผู้บริโภค ผ่าน Wall Post ให้ปรากฏบน Google
Featured ที่สามารถปรับภาพลักษณ์ของแบนด์ให้ตรงกับ Keywords บน Google สามารถ Highlight ของ Wall post มาช่วยโดยการปักหมุด wall หรือ Content Marketing ได้อยู่บนสุดของหน้า Fan page ตลอดเวลา ต่อจากนั้นก็อย่าลืมที่จะทำ Engagement ให้เกิดการ Share และ Like ใน Fan Page ของเรามากที่สุด
SEO ให้ความสัมพันธ์กับ Fan page ดังนี้
Like And Share =Social Singnals คือการ Like หรือ Share คือการที่ผู้ส่งสัญญาณบนสื่อสังคมว่ารับรู้
Social Singnals = Social Engagement คือการแชร์ การสื่อสัญญาณบนสื่อสังคม
Social Engagement = Relevance คือ ผู้บริโภคบนสื่อสังคมมีความสัมพันธ์กับแบนด์