จัดการเมนู Footer (เพิ่ม-แก้ไข-ลบ)
Call Us
02 612 9230-32, 080 064 8000
Member Login
Login
Forgot Password?  Register
 
Testimonial
" ออกมาเป็นที่พอใจมากคะได้สเป็คสีที่ระบุไว้เลยคะ แถมเจ้าหน้าที่ก็ใจดีคะ ทำให้ได้หมดทุกอย่างคะ บริการดีมาก กันเอง "
คุณเจ เจ้าของร้านเพชรทองเอราวัณเยาวราช
คู่มือการใช้งาน MakeWebEasy
จัดการเมนู Footer (เพิ่ม-แก้ไข-ลบ)  กลับหน้าหมวดหมู่คู่มือ
แก้ไขเมนู Footer
เป็นส่วนที่คุณสามารถจัดการแก้ไข เมนู Footer เมื่อต้องการแก้ไขเมนู Footer ตามต้องการ

วิธีการใช้คำสั่ง แก้ไขเมนู Footer

1. 
Log in เข้าสู่ระบบหลังบ้านของเว็บไซต์ของท่าน
2. เลือกไปที่เมนู ปรับแต่งเว็บ เลือกคำสั่ง หน้าหลัก
 

 
หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอกเมนูปรับแต่งเว็บ เมื่อทำการคลิกที่เมนูนี้
ระบบจะแสดงเมนูย่อยที่เกี่ยวข้องแบ่งเป็น
ปรับแต่ง Design และปรับแต่งอื่นๆ
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอกคำสั่ง หน้าหลัก เพื่อเข้าไปจัดการปรับแต่ง Design
ส่วนต่างๆตามต้องการ




3. เมื่อหน้าจอแสดงผลหน้าหลัก ทำการกดรูปในกรอบสีแดง เพื่อทำ แก้ไขเมนู Footer



หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง แก้ไขเมนู Footer




4. คลิกไปที่คำสั่งเพิ่มเมนู ตามคำสั่งหมายเลข 1 เมื่อต้องการเพิ่มเมนูหลัก


หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง เพิ่มเมนู
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง เรียงเมนู
หมายเลข 3 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง Back เพื่อย้อนกลับไปสู่หน้าที่แล้ว

 

ตัวอย่างการใช้งานระบบ Footer Menu


ตัวอย่างการแสดงผลบนหน้าเว็บไซต์   
 




4.1 ตั้งชื่อเมนู / เมนูย่อย (ไทย) ตามคำสั่งหมายเลข 1 ตั้งชื่อเมนู / เมนูย่อย (อังกฤษ) ตามคำสั่งหมายเลข 2 เลือก ไม่ใช้ / เลือก Icon ตามคำสั่งหมายเลข 3 เลือกไม่ใช้ Link ตามคำสั่งหมายเลข 4 เลือกใช้ Link ภายใน / Link ภายนอก ตามคำสั่งหมายเลข 5 ทดสอบ Link (ภายนอก) ได้ ตามคำสั่งหมายเลข 6 จัดการรูปแบบการแสดงผล ตามคำสั่งหมายเลข 7 จัดการการอนุญาตให้เข้าใช้ ตามคำสั่งหมายเลข 8 คลิกไปที่ปุ่มคำสั่ง บันทึก ตามคำสั่งหมายเลข 9
หมายเลข 1 คือ ชื่อเมนู / เมนูย่อย (ไทย)
หมายเลข 2 คือ ชื่อเมนู / เมนูย่อย (อังกฤษ)
หมายเลข 3 คือ Icon
หมายเลข 4 คือ ไม่ใช้ Link
หมายเลข 5 คือ Link ภายใน / Link ภายนอก
หมายเลข 6 คือ ทดสอบ Link
หมายเลข 7 คือ รูปแบบการแสดงผล
หมายเลข 8 คือ อนุญาตให้เข้าใช้
หมายเลข 9 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง บันทึก



4.1.1 การจัดการลิงค์ เมื่อเลือกใช้ Link ภายใน เลือกประเภทของลิงค์ ตามคำสั่งหมายเลข 1 ใส่ URL ที่ต้องการ ตามคำสั่งหมายเลข 2

หมายเลข 1 คือ เลือกประเภท
หมายเลข 2 คือ ช่องใส่ URL



4.1.2 การจัดการลิงค์ เมื่อเลือกใช้ Link ภายนอก ใส่ URL ที่ต้องการ ตามคำสั่งหมายเลข 1

 
หมายเลข 1 คือ ช่องใส่ URL



4.2 ตัวอย่างการแสดงผลหลัง เพิ่มเมนู ดังภาพ
หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง เพิ่มเมนู
หมายเลข 2 คือ ลำดับเมนู
หมายเลข 3 คือ ชื่อเมนู / เมนูย่อย
หมายเลข 4 คือ Icon / Image
หมายเลข 5 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง เพิ่มเมนูย่อย
หมายเลข 6 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง แก้ไข
หมายเลข 7 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง View
หมายเลข 8 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง Lock /Unlock Member
หมายเลข 9 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง เปิด / ปิด เมนู
หมายเลข 10 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง ลบเมนู
หมายเลข 11 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง เรียงเมนู
หมายเลข 12 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง Back เพื่อย้อนกลับไปสู่หน้าที่แล้ว

5. คลิกไปที่คำสั่งเพิ่มเมนูย่อย เมื่อต้องการเพิ่มเมนูย่อย ตามคำสั่งหมายเลข 1



หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง เพิ่มเมนูย่อย


5.1 ตั้งชื่อเมนู / เมนูย่อย (ไทย) ตามคำสั่งหมายเลข 1 ตั้งชื่อเมนู / เมนูย่อย (อังกฤษ) ตามคำสั่งหมายเลข 2 เลือก ไม่ใช้ / เลือก Icon ตามคำสั่งหมายเลข 3 เลือกไม่ใช้ Link ตามคำสั่งหมายเลข 4 เลือกใช้ Link ภายใน / Link ภายนอก ตามคำสั่งหมายเลข 5 ทดสอบ Link (ภายนอก) ได้ ตามคำสั่งหมายเลข 6 จัดการรูปแบบการแสดงผล ตามคำสั่งหมายเลข 7 จัดการการอนุญาตให้เข้าใช้ ตามคำสั่งหมายเลข 8 คลิกไปที่ปุ่มคำสั่ง ตกลง ตามคำสั่งหมายเลข 9
หมายเลข 1 คือ ชื่อเมนู / เมนูย่อย (ไทย)
หมายเลข 2 คือ ชื่อเมนู / เมนูย่อย (อังกฤษ)
หมายเลข 3 คือ Icon
หมายเลข 4 คือ ไม่ใช้ Link
หมายเลข 5 คือ Link ภายใน / Link ภายนอก
หมายเลข 6 คือ ทดสอบ Link
หมายเลข 7 คือ รูปแบบการแสดงผล
หมายเลข 8 คือ อนุญาตให้เข้าใช้
หมายเลข 9 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง บันทึก



5.2 ตัวอย่างการแสดงผลหลัง เพิ่มเมนูย่อย ดังภาพ

หมายเลข 1 คือ เมนูหลัก
หมายเลข 2 คือ เมนูย่อย



6. คลิกไปที่คำสั่ง แก้ไข เมื่อต้องการแก้ไขเมนู (ยกตัวอย่างแก้ไขเมนูย่อย) ตามคำสั่งหมายเลข 2

 
หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง แก้ไขเมนูหลัก
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอกปุ่มคำสั่ง แก้ไขเมนูย่อย



6.1 แก้ไขเมนูย่อยตามต้องการ (ยกตัวอย่างแก้ไขชื่อเมนูย่อย) ตามคำสั่งหมายเลข 1 คลิกไปที่คำสั่ง บันทึก เมื่อทำการแก้ไขเสร็จสิ้น ตามคำสั่งหมายเลข 2

หมายเลข 1 คือ ตัวอย่างการแก้ไขชื่อเมนูย่อย
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งปุ่มคำสั่ง บันทึก



6.2 หลังจากแก้ไข และบันทึกแล้ว ชื่อของเมนูย่อยเปลี่ยนไปตามที่ได้แก้ไข ดังภาพ
 

 หมายเลข 1 คือ ตัวอย่างการแสดงผลหลังการแก้ไขชื่อเมนูย่อย



7. คลิกไปที่คำสั่ง เปิด / ปิด เมื่อต้องการ เปิด / ปิดเมนู (ยกตัวอย่างเปิด / ปิดเมนูย่อย) ตามคำสั่งหมายเลข 2

 

หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งปุ่มคำสั่ง เปิด / ปิดเมนูหลัก
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งปุ่มคำสั่ง เปิด / ปิดเมนูย่อย



8. หลังจากเปิด / ปิดเมนูย่อยแล้ว เมนูย่อยจะถูกปิดการใช้งานไป ดังภาพ

 
หมายเลข 1 คือ ตัวอย่างการแสดงผลหลังการปิดชื่อเมนูย่อย



9. คลิกไปที่คำสั่ง ลบ เมื่อต้องการลบเมนู (ยกตัวอย่างลบเมนูย่อย) ตามคำสั่งหมายเลข 2


หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งปุ่มคำสั่ง ลบเมนูหลัก
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งปุ่มคำสั่ง ลบเมนูย่อย



10. เมื่อหน้าจอแสดงผลดังภาพข้างล่างให้ทำการกด ตกลง ตามคำสั่งหมายเลข 1


หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งปุ่มคำสั่ง ตกลง   


11. ตัวอย่างหลังลบเมนูย่อยแล้ว เมนูย่อยจะถูกลบออกไป ดังภาพ

 

หมายเลข 1 คือ ตัวอย่างการแสดงผลหลังการลบเมนูย่อย
 กลับหน้าหมวดหมู่คู่มือ
หัวข้ออื่นๆ ในหมวดหมู่นี้
เลือก Template 25 มิ.ย. 2555
Intro page 9 ก.ค. 2555
Favicon 13 มิ.ย. 2555
ตั้งค่าพื้นหลัง Content 9 ก.ค. 2555
ตั้งค่าทั่วไป 13 มิ.ย. 2555
พื้นหลังเว็บไซต์ (ตั้งค่า Background) 9 ก.ค. 2555
Floating Banner 9 ก.ค. 2555
ตั้งค่าภาษาในเว็บไซต์ (ระบบภาษา) 9 ก.ค. 2555
ตั้งค่าแถบด้านบน 9 ก.ค. 2555
เลือก Event Banner (แบนเนอร์วันสำคัญตามเทศกาล) 9 ก.ค. 2555