วิธีการตั้งค่าการใช้งานอีเมลล์ ในมือถือ tablets/ Androind
Call Us
02 612 9230-32, 080 064 8000
Member Login
Login
Forgot Password?  Register
 
Testimonial
" ออกมาเป็นที่พอใจมากคะได้สเป็คสีที่ระบุไว้เลยคะ แถมเจ้าหน้าที่ก็ใจดีคะ ทำให้ได้หมดทุกอย่างคะ บริการดีมาก กันเอง "
คุณเจ เจ้าของร้านเพชรทองเอราวัณเยาวราช
คู่มือการใช้งาน MakeWebEasy
วิธีการตั้งค่าการใช้งานอีเมลล์ ในมือถือ tablets/ Androind  กลับหน้าหมวดหมู่คู่มือ
วิธีการตั้งค่าการใช้งานอีเมลล์ ในมือถือ tablets/ Androind
การตั้งค่า E Mail บน Smart Phone Android: สำหรับ Check E-mail ผ่าน Smart Phone Android

วิธีการใช้งาน วิธีการตั้งค่าการใช้งานอีเมลล์ ในมือถือ tablets/ Androind
1. เข้าไปที่ Email กดเลือกไปที่ Set Up Email
2. ใส่ Email account ที่ต้องการเพิ่มลงใน Smart Phone Android ในตำแหน่งหมายเลข 1 ใส่ password ของ Email account ในตำแหน่งหมายเลข 2 เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จเลือกตำแหน่งหมายเลข3


หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกรอกข้อมูล E-mail Account ที่ต้องการเพิ่ม
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกรอก Password
หมายเลข 3 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งปุ่มเลือกเพื่อไปหน้าต่อไป




3. เลือกประเภทเป็น IMAP Account ตามตำแหน่งหมายเลข 1


หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งปุ่มเลือกเพื่อใช้ประเภทเป็นแบบ IMAP




4. การตั้งค่า mail server ขาเข้า กรอกข้อมูลต่าง ใส่ Username ที่ตำแหน่งหมายเลข 1 ใส่ Password ที่ตำแหน่งหมายเลข 2 ใส่ชื่อโดเมนเนมในตำแหน่งหมายเลข 3 เลือกค่าในตำแหน่งหมายเลข 4 เป็น None ใส่ Port ในตำแหน่งที่ 5 โดยค่าเท่ากับ 143 และเมื่อใส่ค่าต่างๆเสร็จแล้วกดเลือกตำแหน่งหมายเลข 7


หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกรอก E-mail
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกรอก Password
หมายเลข 3 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกรอก IMAP Server ใส่ชื่อโดเมนเนม เช่น mail.yourdomain.com
หมายเลข 4 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกดเลือก Security Type เลือกเป็นแบบ None
หมายเลข 5 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกรอก Port โดยกรณีที่ระบบไม่ใส่ให้อัตโนมัติ ให้ใส่ค่าเท่ากับ 143
หมายเลข 6 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกรอก IMAP path prefix เป็นการใช้งานเพิ่มเติม ไม่ต้องใส่ค่าใดๆ
หมายเลข 7 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งปุ่มเลือกเพื่อไปหน้าต่อไป





5. การตั้งค่า mail server ขาออก ใส่ชื่อโดเมนเนมในตำแหน่งหมายเลข 1 เลือก Security Type ในตำแหน่งหมายเลข 2 เป็นNone เลือกเปิดใช้งาน Require sign-in ในตำแหน่งหมายเลข 4 ใส่ Username ที่ตำแหน่งหมายเลข 5 ใส่ Password ที่ตำแหน่งหมายเลข 6 เมื่อใส่ค่าต่างๆเสร็จแล้วกดเลือกที่ตำแหน่งหมายเลข 7


หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกรอก SMTP Server โดยใส่ชื่อโดเมน เช่น mail.yourdomain.com
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกดเลือก Security Type เลือกเป็นแบบ None
หมายเลข 3 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งบอก Port ที่ใช้ ไม่ต้องเปลี่ยนค่า ระบบจะใส่ให้อัตโนมัติ
หมายเลข 4 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งเลือกเปิดใช้งาน Require sign-in
หมายเลข 5 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกรอก E-mail
หมายเลข 6 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกรอก Password
หมายเลข 7 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งปุ่มเลือกเพื่อไปหน้าต่อไป




6. ในส่วนนี้จะเป็นการตั้งค่า ความถี่ในการโหลดเมล์ และการแจ้งเตือน สามารถเลือกได้ตามความต้องการ
เลือกเวลาในการเช็ค E-mail ในตำแหน่งหมายเลข1 เลือกเปิด / ปิดการเชื่อมต่อกับ E-mail เลือกในตำแหน่ง
หมายเลข2 เปิด / ปิดการแจ้งเตือน E-mail เมื่อมี E-mail เข้าได้ในตำแหน่งหมายเลข3 เลือกเปิด / ปิด
เพื่อดาวน์โหลดไฟล์อัตโนมัติเมื่อเปิดใช้งาน Wi-Fi ในตำแหน่งหมายเลข4


หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งเลือกเวลาในการเช็ค E-mail ใหม่ๆ
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกดเลือกเปิด / ปิดการเชื่อมต่อกับ E-mail
หมายเลข 3 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกดเลือกเปิด / ปิด การแจ้งเตือน E-mail เมื่อมี E-mail เข้ามา
หมายเลข 4 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกดเลือกเปิด / ปิดเพื่อดาวน์โหลดไฟล์อัตโนมัติเมื่อเปิดใช้งาน Wi-Fi




7.การตั้งค่า ชื่อผู้ส่ง Email เมื่อมีการส่ง Email ออก เช่น Admin MakewebEasy เป็นต้น โดยใส่ชื่อผู้ส่งที่ต้องการในตำแหน่งหมายเลข2


หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งชื่อโดเมนเนม
หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งบอก ตำแหน่งกรอกชื่อผู้ส่ง Email เมื่อมีการส่ง Email ออก



**** Smart Phone Android แต่ละรุ่น อาจมีรูปแบบการสร้าง Email account หรือหน้าจอการตั้งค่าแตกต่างกัน ลองประยุกต์ใช้กับ Smart Phone Android ดู

Test By Samsung Galaxy S3


 กลับหน้าหมวดหมู่คู่มือ
หัวข้ออื่นๆ ในหมวดหมู่นี้